เทคนิคประมูลทรัพย์จากกรมบังคับคดี ชนะประมูลง่าย ใช้ทุนต่ำ ทำกำไรคุ้ม
คนทำธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ถ้าอยากลงทุนกับบ้านมือสองในยุคนี้ ต้องรู้จักการประมูลทรัพย์จากกรมบังคับคดี เพราะคุณจะได้บ้านในราคาต่ำกว่าตลาด ใช้ต้นทุนน้อยกว่า แต่มีโอกาสทำกำไรได้เป็นกอบเป็นกำ
ทำไมต้องเลือกทรัพย์จากกรมบังคับคดี ?
ทรัพย์จากกรมบังคับคดี คือ ทรัพย์ที่ลูกหนี้นำไปประกันไว้กับธนาคารหรือแหล่งเงินทุน เพื่อใช้เป็นหลักประกันการกู้ยืม เมื่อถึงกำหนดชำระหนี้แล้วไม่สามารถจ่ายคืนได้ ก็จะถูกฟ้องร้องและมีคำสั่งศาลให้นำบ้านหรือทรัพย์ดังกล่าวออกมาขายทอดตลาดผ่านกรมบังคับคดี แล้วนำเงินที่ได้มาชำระหนี้ให้กับธนาคารหรือแหล่งเงินทุนเจ้าหนี้ ดังนั้นข้อดีคือ…
✓ ราคาเปิดประมูลต่ำกว่าบ้านที่ขายในท้องตลาด 30-50%
✓ เหมาะกับนักลงทุนมือใหม่ (มีเงินไม่มาก แต่อยากลงทุน)
✓ ราคาทรัพย์ถูก ความเสี่ยงและโอกาสขาดทุนจึงน้อยกว่า
✓ ครอบครองทรัพย์ได้ ไม่ต้องวางเงินก้อนใหญ่ ไม่ต้องจ่ายทีเดียว (สามารถใช้เครดิตขอกู้จากสถาบันการเงินได้)
หนังสือ QR Code Book “บันได 7 ขั้น รวยจากการประมูลทรัพย์บังคับคดี”
นี่คือหลักสูตรออนไลน์ในหนังสือ
- 7 บทเรียน มีเนื้อหาให้อ่าน 168 หน้า
- มีคลิปวิดีโอสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ 2 ท่าน
- ความยาววิดีโอรวม 1 ชั่วโมง 39 นาที
สารบัญ 7 บทเรียน
บทนำ ทำไมต้องเริ่มต้นลงทุนทรัพย์จากกรมบังคับคดี?
บทที่ 1 อยากเป็นเจ้าของทรัพย์บังคับคดีต้องรู้อะไร?
- รูปแบบการซื้อขายทอดตลาด ณ กรมบังคับคดี
- สร้างโอกาสจากการเลือกประมูลอสังหาริมทรัพย์ให้แมตช์กับการลงทุน
- การเลือกทรัพย์ให้เหมือนได้จับกำไร
- เช็กความสามารถในการซื้อจากการ Pre Approve
บทที่ 2 การประมูลซื้อทรัพย์จากกรมบังคับคดี
- ซื้อทรัพย์ได้ถูกที่ถูกเวลาแค่รู้วันที่เปิดขายทอดตลาดของกรมบังคับคดี
- ขั้นตอนการเป็นเจ้าของทรัพย์จากกรมบังคับคดี
- มูลค่าการวางเงินมัดจำก่อนการเข้าประมูล
- ชี้ทางเลือกใหม่ของการวางเงินหลักประกันด้วย EDC Payment
- รู้จักผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับทรัพย์ประมูล
- ผู้เสนอราคาสามารถยกป้ายประมูลทรัพย์อื่นได้หรือไม่
- จบปัญหาเทค่ามัดจำด้วยการขอเพิ่ม-ลดชื่อผู้ซื้อทรัพย์ก่อนการประมูล
- ชี้ทางสะดวกกว่ากับการประมูลทรัพย์บังคับคดีผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 3 การดำเนินการหลังชนะการประมูลทรัพย์จากกรมบังคับคดี
- รู้จักความเป็นมาของการทำสัญญาซื้อขายอสังหาฯ หลังการประมูล
- สัญญาจะซื้อจะขายและสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาดคืออะไร?
- การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินให้กับผู้ซื้อ
- เรื่องเงิน ๆ ทอง ๆ ที่ต้องจ่ายหลังการประมูล
- เงินพร้อมประมูลได้ แต่ทำไมถึงทำสัญญาซื้อขายกับกรมบังคับคดีไม่ได้
- การกู้ธนาคารเพื่อซื้อทรัพย์สำหรับคนมีสลิปเงินเดือน
- กรณีที่ชำระเงินไม่ครบภายในระยะเวลาที่กรมบังคับคดีกำหนด
- จบปัญหาภาษีซ้ำซ้อน เมื่อผู้ซื้อทรัพย์สามารถขอภาษีอากรคืนได้
บทที่ 4 การประมูลซื้อทรัพย์จากกรมบังคับคดี
- กรณีที่มีการเพิกถอนการขายทอดตลาด ผู้ซื้อจะขอค่าธรรมเนียมในการโอนและภาษีคืนจากใคร
- จะทำอย่างไรหากบ้านที่ประมูลได้ยังมีเจ้าของเดิมอาศัยอยู่
- ทรัพย์บังคับคดีมีค่าส่วนกลางค้างจ่าย ใครมีหน้าที่ในการรับผิดชอบ
- ความรับผิดชอบของผู้ที่เคยทิ้งเงินมัดจำหลังการประมูล
- การถูกคัดค้านเมื่อราคาประมูลต่ำยังทำได้อยู่ไหม
บทที่ 5 แชร์ทริคการขายบ้านจากกรมบังคับคดี
- ขายบ้านตามสภาพแก้ปัญหาภาษีสิ้นปีสูง
- ซื้อขายตามสภาพ คิดค่าโอนซื้อเข้า-ออก อย่างไร
- ดันราคาประเมินให้สูงด้วยการต่อเติมให้ถูกวิธี
- ดึงเกมกำไรด้วยเทคนิคขายต่ำกว่าราคาซื้อขายในตลาด
บทที่ 6 หาจุดคุ้มทุนสำหรับการประมูล
- รู้จักกระแสเงินสดกับการประมูลทรัพย์
- เทคนิคเสนอราคาประมูลอย่างไรไม่ให้กระเป๋าฉีก
- ซื้อทรัพย์ขายทอดตลาดแบบไม่ต้องประมูล
บทที่ 7 แชร์ทริคการขายบ้านจากกรมบังคับคดี
- อ่านเกมความคุ้มค่าจากวิธีเสนอราคาของผู้ร่วมประมูล
- อ่านเกมการดึงราคาของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
- วิธีรับมือเมื่อถูกร้องขอให้ยกเลิกราคาประมูลทรัพย์นอกรอบ
ประสบการณ์จากผู้เชี่ยวชาญ 2 ท่าน
1. คุณวิรุตต์ บุณจินดาทรัพย์
– Exclusive Contract 3 ปี ทำ Resale บ้านจากกรมบังคับคดีให้บริษัทมหาชน มูลค่างานระดับ 900 ล้านบาท
– ผู้ก่อตั้งบริษัท Mastery RE Solution (ทำอสังหา ฯ ดูแลแบบครบวงจร)
2. คุณนีน่า สุภัทรวดี ไชยศิลป์
– นักลงทุนอสังหาริมทรัพย์ มีประสบการณ์และเชี่ยวชาญการประมูลทรัพย์จากบังคับคดี
….
➤ ดูสินค้าหนังสือเล่มอื่น คลิก : Shop – 7Daffiliate.com
รีวิว
ยังไม่มีบทวิจารณ์